Page 3 - กระท่อมประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย
P. 3
ตํารับยาที มีกระท่อมเป นส่วนประกอบ
ตํารับยาที มีกระท่อมเป นส่วนประกอบ
กระท่อมเป นส่วนประกอบในตํารายาหลายตํารับ มีการใช้เป นยาหลักที รักษา
โรคโดยตรง ใช้เป นยารองรักษาโรคแทรก โรคตาม เเละใช้เป นกระสายยาเพื อช่วย
ให้ยามีฤทธิ ตรงต่อโรคหรือเพิ มสรรพคุณของยา
ตํารับยาที มีกระท่อมเป นส่วนประกอบพบในคัมภีร์แผนไทย มีไม่น้อยกว่า 56 ตํารับ
ตํารับยาที มีกระท่อมเป นส่วนประกอบพบในคัมภีร์แผนไทย มีไม่น้อยกว่า 56 ตํารับ
ตํารับยาส่วนใหญ่มีสรรพคุณหลัก คือ แก้ท้องร่วง รักษาโรคบิด เช่น ยาประสะกระท่อม ,
ยาหนุมานจองถนนป ดมหาสมุทร, ยาแก้กุจฉิ ยาวาตอติสาร,ยาเหลืองกระท่อม ,
ยาแก้ลงทั งเด็กทั งผู้ใหญ่ (ใช้ในทั งเด็ก ทั งผู้ใหญ่), ยาแก้บิดหัวลูก , ยาเหลืองใหญ่ ฯลฯ
อีกหนึ งตํารับที น่าสนใจ คือ บันทึกการใช้ใบกระท่อมในตํารับ “ยาทําให้อดฝ น” ที มีการ
ใช้ร่วมกับกัญชา เพื อลดความอยากฝ น
นอกจากนี ยังมีตํารับยาของหมอพื นบ้านที ใช้กระท่อมเป นส่วนของเครื องยา เพื อรักษาโรค เช่น
โรคท้องร่วง โรคเบาหวาน โรคปวดเมื อย แก้ไอ ขับพยาธิ แก้ปวดท้อง นอนไม่หลับ ฯลฯ
ฤทธิ ทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อกล้ามเนื อลาย ผลต่อสมองและพฤติกรรม
สารสกัดใบกระท่อมและ Mitragynine ทําให้กล้ามเนื อลายคลายตัว ทําให้พฤติกรรมการกินอาหารลดลง
สารสกัดเมทานอลจะทําให้กล้ามเนื อลายคลายตัวได้มากกว่า (Kumasit et al., 2006)
Mitragynine (Chittrakarn et al., 2010) ออกฤทธิ ในสมองทําให้ผู้ป วยรู้สึกดีขึ น
สามารถทํางานหรือกิจวัตรประจําวัน
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร ได้ดีขึ น (Kumasit et al., 2006)
Mitragynine ลดดการหดตัวของลําไส้เล็กส่วนต้น และลดการเคลื อนที
ของอาหารในลําไส้เล็ก ในกรณีที ใช้สารสกัดพืชกระท่อมในระยะเวลา ผลต่อระดับน าตาลในเลือด
สั นๆทําให้ลดอาการท้องเสีย (Chittrakarn et al., 2008)
สารสกัดใบกระท่อมและ Mitragynine
ฤทธิ ระงับปวด เพิ มอัตราการนํากลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื อ
(Purintrapiban et al., 2011)
Mitragynine และ 7-Hydroxymitragynine มีฤทธิ ระงับปวด โดย
ออกฤทธิ คล้ายมอร์ฟ น โดย 7-Hydroxymitragynine มีฤทธิ ระงับปวด
ดีกว่ามอร์ฟ น (Matsumoto et al., 2008)
1. สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ 2563. บทสรุปของพืชกระท่อม. (พิมพ์ครั งที 2). สงขลา : ลีโอ ดีไซน์ แอนด์ พริ นท์
2. ประมวลสรรพคุณยาไทย (ภาคหนึ ง) ว่าด้วย พฤกษชาติ วัตถุธาตุ และสัตว์วัตถุนานาชนิด. โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ ) ท่าเตียน. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์ จํากัด.
3. ไม้เทศเมืองไทย สรรพคุณของยาเทศและยาไทย. หมอเสงี ยม พงษ์บุญรอด รวบรวมและเรียบเรียง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงธน, ๒๕๒๒.
4. ตําราประมวลหลักเภสัช. โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชรมหาวิหาร. กรุงเทพฯ, ๒๕๒๘.
5. Chittrakarn, S., et al.,. 2010. The neuromuscular blockade produced by pure alkaloid, mitragynine and methanol extract of kratom leaves (Mitragyna speciosa Korth.). J Ethnopharmacol. 129:344-349
6. Chittrakarn, S., et al., 2008. Inhibitory effects of kratom leaf extract (Mitragyna speciosa Korth.) on the rat gastrointestinal tract. J Ethnopharmacol. 116:173-178.
7. Matsumoto, K., et al., 2008. MGM-9 [(E)-methyl 2-(3-ethyl-7a,12a-(epoxyethanoxy)-9-fluoro 1,2,3,4,6,7,12,12b-octahydro-8-methoxyindolo[2,3-a]quinolizin-2-yl)-3- methoxyacrylate], a derivative of the indole
alkaloid mitragynine: A novel dualacting μ- and κ-opioid agonist with potent antinociceptive and weak rewarding effects in mice. Neuropharmacology. 55:154-165.
8. Kumarnsit, E., Keawpradub, N., Nuankaew, W. 2006. Acute and long-term effects of alkaloid extract of Mitragyna speciosa on food and water intake and body weight in rats. Fitoterapia. 77:339-345.
9. Purintrapiban, J., et al., 2011. Study on glucose transport in muscle cells by extracts from Mitragyna speciosa (Korth.) and mitragynine. Nat Prod Res. 25:1379-1387.
รวบรวมข้อมูลโดย : สํานักงานจัดการกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์แผนไทย 02-149-5647 , 063-207-6460 cannabis.dtam@gmail.com
กรมการแพทย์แผนไทยเเละการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี