Page 20 - แนวทางการใช้ประโยชน์จากพืชกระท่อม
P. 20
ข้อควรระวังและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
กำรใช้พืชกระท่อม
1. ข้อควรระวัง
1.1 ไม่ควรใช้ในเยาวชนอายุต�่ากว่า 18 ปี
1.2 ไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์หรือวางแผนตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
1.3 ควรระวังในผู้ที่มีการท�างานของตับและไตบกพร่อง
1.4 การใช้ใบกระท่อมสดโดยไม่ลอกก้านใบออกจากตัวใบและกลืนกากกระท่อม
อาจจะท�าให้เกิดอาการที่เรียกว่า “ถุงท่อม” ในล�าไส้ได้
1.5 อาจเกิดอาการท้องผูกในกลุ่มผู้ใช้ที่เคี้ยวใบกระท่อมสด วิธีการป้องกัน
คือ ให้ดื่มน�้าตามมาก ๆ
1.6 อาจท�าให้เกิดอาการเมากระท่อมในผู้ใช้ครั้งแรกหรือผู้ที่ใช้ในปริมาณมาก
1.7 อาจเกิดการติดกระท่อมได้ ขึ้นอยู่กับระยะเวลา ปริมาณ และความถี่
ในการใช้กระท่อมของแต่ละบุคคล
2. ข้อมูลเพิ่มเติม
2.1 อาการเมากระท่อม
อาการเมากระท่อม ส่วนใหญ่เกิดได้ในผู้ใช้กระท่อมครั้งแรก หรือเคี้ยว
ใบกระท่อมในปริมาณที่มากติดต่อกัน อาจมีอาการมึนงง ลิ้นชา เหงื่อออกมาก ตามัว
อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน แน่นหน้าอก ส่วนใหญ่ผู้ใช้จะมีวิธีการรักษาอาการดังกล่าว
ด้วยตนเอง เช่น นั่งหรือนอนพัก ไปท�างานให้เหงื่อออกหรือไปอาบน�้าเย็น ดื่มน�้าเย็น
กินผลไม้รสเปรี้ยว ดื่มน�้าหวานหรือกินผลไม้รสหวาน เป็นต้น โดยอาการดังกล่าว
สามารถหายได้เอง
2.2 อาการขาดกระท่อม
ผู้ใช้กระท่อมประจ�าเมื่อหยุดใช้กระท่อมจะมีอาการถอนยาหรืออาการขาด
กระท่อมเกิดขึ้น ซึ่งจ�าแนกออกเป็น 4 หมวด ได้แก่
14 แนวทางการใช้ประโยชน์จากพืชกระท่อม